Mobile Version / สำหรับโทรศัพท์มือถือ ยินดีต้อนรับท่านผู้มาเยือน www.peoplecine.com ท่านยังไม่ได้ log in นะครับ เข้าใช้งานระบบ / สมัครสมาชิก/ ลืมรหัสผ่าน

ร่วมทดสอบ Peoplecine mobile Beta0.1


รูป
พูดคุย-แลกเปลี่ยนเรื่อง เครื่องฉายหนัง-โครง-จอเจ้าของ ผู้ตอบหลังสุด
-ขอคำแนะนำ การแปลงซีค่อนเป็นหม้อดึงไฟ จากผู้รู้ด้วยครับยังไม่มีคนตอบ
-เล่นเครื่องฉาย ตอนตามไปชม จอใหม่ของเพื่อนยังไม่ได้เป็นสมาชิกเรา.. 30/7/2555 13:07
-Century SA 35mm Projector & R3E Soundhead Stereo+DTS.. 29/7/2555 22:44
-ได้เวลาโชว์ชุดเล็กฉายในบ้าน.. 28/7/2555 22:29
-ขอบคุณลุงท่านนึงที่มอบสิ่งนี้มาให้....ขอสืบสานตำนานจอหนังขายยา..(เร็วๆนี้).. 26/7/2555 23:45
-สอบถามราคาจอพร้อมโครงเหล็ก.. 26/7/2555 11:40
-เครื่องฉายนหนัง 35 มม.ขนาดเล็ก.. 25/7/2555 22:15
-เครื่องฉายหนัง 35 มม. ยุค 40.. 25/7/2555 21:54
-ได้เวลา เอาถ่าน แล้วครับ.. 23/7/2555 7:41
-ไปดูสตรองกลางเดิมๆกัน.. 19/7/2555 17:57
-Strong Highlight IIA 35mm Projectors Kelmar Automation with Film Platters.. 19/7/2555 15:43
-มีโตกิว่า หัวมน อินเดียมาให้ชมแว๊บๆ เลยลองหาข้อมูล น้องโตหัวมนไว้สักหน่อย..... 19/7/2555 11:52
-น้ำลายหก กับ Kinoton ที่ยังมีของใหม่แกะกล่องให้ช๊อป.. 19/7/2555 0:02
-Christie P35GPS Projector & SLC20-2 Console System คริสตี้ P35GPS โล๊ะถูกๆ 24000 บาท.. 16/7/2555 9:36
-ขอต้อนรับพี่โตกิว่า T60 สู่อ้อมกอด อีกหัวครับ.. 16/7/2555 9:16
-เครื่องฉายหนัง 35 ม.ม. โบราณ.. 12/7/2555 2:11
เลือกหน้า [1] [2] [3] [4] [5] [6] [7] [8] [9] [10] [11] [12] [13] [14] [15] [16] [17] [18] [19] [20] [21] [22] [23] [24] [25] [26] [27] [28] [29] [30] [31] [32] [33] [34] [35] [36] [37] [38] [39] [40] [41] [42] [43] [44] [45] [46] [47] [48] [49] [50] [51] [52] [53] [54] [55] [56] [57] [58] [59]
จำนวนหัวข้อทั้งหมด 932

มีโตกิว่า หัวมน อินเดียมาให้ชมแว๊บๆ เลยลองหาข้อมูล น้องโตหัวมนไว้สักหน่อย...


มีโตกิว่า หัวมน อินเดียมาให้ชมแว๊บๆ  ธรรมดาหัวโต มนหัวนี้ ยังไม่ถึงคิวโชว์ตัว คงต้องรออีกนาน..กว่าจะถึงคิวลงในเปิดกรุ...  แต่มีเพื่อนสมาชิกของเรา...   โทรถามว่า ลักษณะแตกจากหัวโตกิว่า ทั่วๆ ไป อย่างไร ผมไม่รู้จะอธิบาย อย่างไร  ก็เลยนำภาพมาให้ชม..และก็กลัวจะให้ข้อมูลที่ผิด  เลยมาขออนุญาติ เล่าตามที่เคยได้ยิน ได้ฟังจากที่เคยจำนำมาบอกกล่าว...

ความแตกต่างจากหัวมน Made in Japan  ระยะของบอดี้ จะมีความกว้างกว่า ทำให้ ฝาข้างด้านเฟือง ไม่ต้องทำให้มีมุมหลบใบพัดตัดแสง



+
+
+
+

ความเห็น

[1] [2]


 รูปบน จะเป็นหัวมน  ช่องบอดี้ หัวนี้ เจาะฟิล์มให้ลงล่างเพื่อฉายในโรงซะด้วย...แบบนี้หัวนี้ น่าจะนิ่งดีแน่ๆ..



+
+


  ถ้าหัวมน ญี่ปุ่น  ต้องหัวนี้  ที่ผมได้ไปชมมา ของไก่ บางบอน ขอนำมาโชว์อีกแล้ว.......


+
+
+
+



+
+


ฝาข้างด้านเฟือง ของหัวมน ญี่ปุ่น จะมีมุมหลบใบพัด หารุปไม่เจอ ต้องขอนำรูป ซินเกียวมาเป็นแบบแทน ( ของผมก็มี แต่ไว้รอคิวมาลงตามลำดับนะรอนิด)


+


ลองดูป้ายเพลท แต่ผมยังไม่เคยเจอ แต่กระทู้ ซื้อขาย ผมว่า น่าจะเป็น Japan ไว้ตั้งกระทู้ รอถามสมาชิกอีกที





ขออนุญาต นำรูปฝา  จากกระทู้ ที่ link กระทุ้ซื้อขายมาลงนะครับ

ฝาข้าง ของโตกิว่า หัวมนแบบนี้  สังเกตุพื้นฝาจะเห็น มีการหลบช่วงใบพัดตัดแสง  แต่ถ้า รุ่น Made in INDIA

ฝาจะเต็ม เพราะจะหล่อบอดี้ ให้ช่วงกว้างขึ้น

   เข่นเดียวกับ SINKYO  M6  นอก กับ M6 ใน บอดี้ตัวเครื่อง จะกว้างไม่เท่ากัน...



+


และหัวมน JAPAN  อีกหัวที่เคยเห็น แว๊บๆ แต่ผมยังไม่มีโอกาสไปชม..นอกจากชมในเวป...




ลองเปรียบฝาอินเดียด้านฝั่งทางเฟืองและสายพานมอเตอร์   ฝาหลังจะเป็นกระจก เหมือนฝาหน้า (ด้านอก จะเห็นว่าจะไม่นูน นอกจาก ช่องระบายความร้อนบริเวณ พัดลม รูปดอกไม้จะนูน)  กับ ฝา แจแปน ( ไม่ได้ถ่ายด้านนอก  เลยมองด้านในเว้า ด้านนอกก็จะนูนตรง หลบใบพัดตัดแสง   และรูปดอกไม้จะนูน)...

และถ้า โตกิว่า T54 หัวเหลี่ยม ฝาฝั่งนี้ จะไม่มีแผ่นกระจก ...แบบยามากิว่า    แต่ถ้าวรนันท์ ก็จะมีกระจกมองทั้ง 2 ด้านเหมือนกัน..



+
+


 ปล. ข้อมูล link นี้ เครื่องสมาชิก ต้องมีโปรแกรมอ่าน File . PDF ได้ ไม่งั้นก็ link แล้วก็อ่านไม่ได้

***** ขออนุญาติ นำข้อมูล จาก เวป ที่ลงข้อมูลไว้มาฝากเพื่อนสมาชิก แปลให้ที่ครับ...
ที่มา TEXT: ERKAN UMUT

Tokiwa 
Tokiwa is a brand of Tokiwa Co.,
Ltd. (originally Tokiwa Seiki, or
K.K. Tokiwa Seiki Seisakusho in
Japanese), which has its head office
and factory in Tokyo. The company was established in 1951, and
their first model was the T-54
portable 35 mm projector, primarily
exported to India. It had an incandescent light source that was refitted with a carbon arc bulb for use
in theatres. In 1958, the first TS
theater-type 35 mm projector (enclosed with a seperately attached
soundhead) was introduced andexported to Korea, Taiwan and
Southeast Asia, where it gained
80 % market share. 
The light source of the portable
model was changed from incandescent to halogen in 1960, and the T-
60 portable model was released. At
that time, this type of lamp was
not standard and had to be specially ordered. Halogen is not as bright
as Xenon, so introducing Xenon
made the portable units suitable
for theater use as well. The TSS
line followed the TS type with carbon arc illumination, and later a
Xenon lamp. The TSS remained onthe market for a long time, until
the 1990s, while the open type (or
so-called European type) TSR was
introduced at the end of 1960s by
removing the door and combining
the seperate soundhead of the TSS
type. The TSR has an open magazine with 3000 and 6000 ft. reel capacity, while the TSS initially had a
3000 ft enclosed magazine. The
TSS had a single lens holder and
was adapted to take 6000 ft. with
open reels later on. The take-up
magazines of the TSS model are
mounted on pedestals, while most
TSR models are mounted on thehead, except the TSRS model,
which is the same as the TSS. Later, all magazines were replaced
with less attractive reel arms for
economic reasons.
In 1985, the shutter of the TSR
was changed from cylindrical to
conical. The TSR line includes a
dual format model for 16/35 mm
that employs a separate attached
16 mm projector made by Elmo.
The TSR-MINI is a miniaturized
version of the TSR, although the
head is the same as the TSR and it
is intended for portable applications. The first automatic model






ผม ภาษาอังกฤษ ไม่คล่อง ได้แค่ งูๆ ปลาๆ..
แต่ที่เคยอ่านผ่านๆ มาในกระทู้ ที่น่าจะคุณแพมมี่ บอกไว้ว่า
 TOKIWA T54 น่าจะออกมาในช่วง ปี ค.ศ 1954
TOKIWA T60 น่าจะออกมาในช่วง ปี ค.ศ 1960. 

Tokiwa is a brand of Tokiwa Co.,
Ltd. (originally Tokiwa Seiki, or
K.K. Tokiwa Seiki Seisakusho in
Japanese), which has its head office
and factory in Tokyo. The company was established in 1951, and
their first model was the T-54
portable 35 mm projector, primarily
exported to India. It had an incandescent light source that was refitted with a carbon arc bulb for use
in theatres. In 1958, the first TS
theater-type 35 mm projector (enclosed with a seperately attached
soundhead) was introduced andexported to Korea, Taiwan and
Southeast Asia, where it gained
80 % market share. 
The light source of the portable
model was changed from incandescent to halogen in 1960, and the T-
60 portable model was released. At
that time, this type of lamp was
not standard and had to be specially ordered. Halogen is not as bright
as Xenon, so introducing Xenon
made the portable units suitable
for theater use as well.




แบบ นี้ หัวฉาย  Tokiwa T54  และ  T60 เป็นตำนาน  50 กว่าปีที่ออกเครื่องฉาย มาโลดแล่นยุทธจักร....และยังหลงเหลือไว้ ให้เดินได้....

แบบนี้ ใครอนุรักษ์ให้ดี  และเก็บไปอีกเท่านึง  ก็เก็บไว้รุ่นลูก  รุ่นหลาน  ก็น่าจะอยู่เป็นตำนาน 100 ปีให้สืบต่อไป... 

แต่ผม ขอแค่ ทำหัวมน ที่ผมเก็บไว้ 2 -3 หัวให้เดินได้บ้างก็คงดีใจแล้ว.....แต่อาจ ต้องใช้เวลาปลุกนานสักหน่อย  เพราะมันเก่ามากแล้วจริงๆ...ไว้นำรูปลงในกระทู้ เปิดกรุหัวฉายของผมต่อ...ดึกแล้ว ต้องขอตัวไปนอนก่อนครับ...
ไว้รอชม หัวโตกิว่า T54 หัวมนกัน...อดใจรอนะครับ....ราตรีสวัสดิ์....





ผมสนใจตรงนี้แฮะ 

"...In 1985, the shutter of the TSR
was changed from cylindrical to
conical."


โตกีว่าหัวโรง ทั้ง TSS และ TSR เท่าที่เห็นในบ้านเรา มีแต่แบบใบพัดทรงกระบอก(เหมือนเครื่องจีนแดงส่วนใหญ่) แบบที่เป็นใบพัดทรงกรวยนี่ ไม่เคยเห็นของจริงเลย --a

ผู้ใดมีรูป วานเอามาลงให้ดูเป็นขวัญตาหน่อยเถิดครับ...



Tokiwa T54  หัวมน  ของผมน่าจะเป็นของ Japan  รุ่นแรกๆ  สังเกตตรงขาตั้งเครื่องฉายจะเบนออกเล็กน้อย ไม่ตั้งฉาก เหมือนหัวทั่วๆไป
+
+
+
+


  ***** ใช่เลยครับ....หัวฉาย TOKIWA T54 ของท่านอาจารย์ใหญ่ที่ถ่ายภาพมาลงให้สมาชิกได้ชม..ตรงขาคู่หน้านี้ ที่ว่าทำมุมสอบ  น่าจะแปลกกว่ารุ่น T54 ที่ได้ชมกัน ไว้ต้องเสาะหาข้อมุลเพิ่มเติมอีก.......น่าจะเป็นรุ่นแรก และผลิตจากบริษัทแม่ที่ญี่ปุ่น .ผมก็ว่า น่าจะต้องมีสมาชิกที่ว่าพอทราบ หรือได้ครอบครอง หัวที่เป็นหัวฉายที่เป็นหัวฉายที่สภาพสมบูรณ์ และพอได้ทราบว่า มีแบบลักษณะแตกต่างออกไป จากที่ได้เคยชม...อีกหลายท่าน  แต่อาจจะไม่ได้เป็นสมาชิก..หรืออาจจะไม่ได้เข้าถึงกระทู้นี้...





   ก็แปลก  ทำไมเค้าทำตัวขาตั้งมาแบบนี้ ...  ดูมันตลกดี  


 
เขาเรียกันกว่า โตกีว่าขาเกครับ ลักษณะขาคู่หน้าจะเกออกข้าง ตัวนี้เป็นตัวแรกของซีรี 54 ครับ

หายากครับ ไม่ค่อยเจอ ผมเห็นครั้งแรกและครั้งเดียวก็ที่บ้านอาจารย์ใหญ่นี่แหละครับ





 ***** ขอบคุณ ท่านไก่ บางบอน มากครับ ที่ช่วยแจ้งเรื่อง โตกิว่าขาเก   และที่มี เรื่องเล่าอีกเรื่อง ที่ไก่ เคยบอกไว้
สมัยก่อน  กระปุกจำปา เขาจะใช้จารบี เป็นที่หล่อลื่น ไม่มีที่เติมน้ำมัน ...และต่อมาภายหลัง  จึงมีรุ่นที่กระปุกจำปาหล่อลื่นด้วยน้ำมันเครื่อง..มีที่เติมน้ำมันและช่องดูน้ำมันสำหรับรุ่นหลังๆ...



ตอนที่ซื่้อหัวเครื่องรุ่นนี้มา  เจ้าของบอกว่าเดิมใช้จารบีหล่อลื่น  ต่อมาได้แปลงเป็นใช้น้ำมันหล่อลื่น  คงจะจริงตามที่คุณไก่บอกไว้


เลือกหน้า
[1] [2]
จำนวนหัวข้อทั้งหมด 29

กลับขึ้นข้างบน / กลับหน้าแรก

ค้นกระดานข่าว:


ถูกเปิด: ถูกคลิ๊กแล้ว: 117963930 ตอนนี้มีผู้เข้าชม : 1 ล่าสุด :Jerekioxgew , พีเพิลนิวส์ , นุกูล , จาทีเอ , อั้น , เอก , นนท์ , แสบ chumphon , วัตร , เอ๋ ,